ศีล ๕ สิกขาบท สุราเป็นตัวสำคัญ : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
ถ้าล่วงสุราเสียสิกขาบทเดียวเท่านั้นแหละ อีก ๔ สิกขาบทรักษาอยู่ไม่ได้ สลายหมด
เลิกเหล้าเข้าพรรษา
สุรามีที่มาที่ไปอย่างไร? ทำไมการไม่ดื่มสุราจึงถูกบัญญัติให้เป็นข้อห้ามข้อหนึ่งในศีล ๕ ? จะหลีกเลี่ยงการสังสรรค์ที่เกี่ยวกับการงานอย่างไรดี? และจะทำตัวอย่างไรไม่ให้แปลกแยก? เงินก็ของเรา ดื่มเหล้าแล้วไม่เคยไปหาเรื่องใคร ยังมีความผิดอยู่ไหม?
สัจจบารมี ยอมตายไม่ยอมคด
"ท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมีให้เต็มเปี่ยม อย่าได้พูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์ เป็นต้น ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่โคจรไปในทางอื่น โครจรเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใดแม้ท่านไม่ละสัจจะ ไม่ทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น "
"ธัมมัสสวนมัย" ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
“กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การฟังธรรมตามกาลเป็นมงคลอย่างยิ่ง”
อธิษฐานบารมี ยอมตายไม่ยอมทิ้งเป้าหมาย
"ท่านพึงบำเพ็ญอธิฐานบารมีให้เต็มเปี่ยม ธรรมดาว่าภูเขาหินศิลาแท่งทึบ ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ไม่สะเทือนด้วยแรงลม ตั้งอยู่ในที่เดิมของตนเท่านั้น ฉันใด ท่านจงอย่าได้หวั่นไหว ในความตั้งใจจริงตลอดกาล จักได้เป็นพระพุทธเจ้า"
เผชิญวิกฤตเศรษฐกิจอย่างเป็นธรรม
เวลาข้าวยากหมากแพง ควรทำอย่างไรดี ? สำหรับคนที่ทำบัญชีและประหยัดทุกอย่างแล้วแต่ยังเครียดเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจ จะต้องทำอย่างไร?....
ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล
เลิกติดเกมอย่างนุ่มนวล
จะแก้ไขปัญหาเด็กติดเกมได้อย่างไร ในสมัยพุทธกาลมีตัวอย่างเหตุการณ์เช่นนี้บ้างไหม คือเรื่องเดียวกันแต่มองคนละมุม จะรู้ได้อย่างไรว่าติดเกมหรือไม่ติด....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
นักสร้างบารมีกับพันธกิจยอยกพระพุทธศาสนา
ยอดนักสร้างบามีผู้มีหัวใจโชนนิรันดร์ทุกท่าน เมื่อเทียบเวลาในมนุษยโลกกับดุสิตบุรีช่างเป็นช่วงเวลาที่สั้นเหลือเกิน เวลา ๑ ปีของเรานั้น เท่ากับ ๖ ชั่วโมงในดุสิตบุรี เราสละทิพยสมบัติมาไม่กี่ชั่วโมง เพื่อเอาบารมีกลับไปให้ได้มากที่สุด